| ผวา โอบามา คว่ำบาตร เอกชนเครียด 2 แรงบวกทุบส่งออก/เชื่ออียู - มะกันไม่กล้าตัดสัมพันธ์ไทย
เอกชนเครียด ผลเทียร์ 3 บัญชีดำค้ามนุษย์ ผวา "โอบามา"ประกาศคว่ำบาตรการค้าทำสูญตลาดสหรัฐฯ 6.9 แสนล้าน ขณะอียูขย่มซ้ำระงับเจรจาเอฟที-ตัดจีเอสพี คาดทุบส่งออกไปยุโรปปีนี้ติดลบ 10% กดดัน
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2,960 วันที่ 26 - 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557 |
| พาณิชย์ ทำโรดแมพเร่งด่วน เอกชนขนทีมบินเจรจาสหรัฐ ถอด กุ้ง-ทูน่า พ้นบัญชีค้ามนุษย์
จากกรณีกระทรวงต่างประเทศสหรัฐได้เปิดเผยรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ (TIP Report) ประจำปี 2014 ซึ่งไทยถูกปรับลดอันดับจากกลุ่ม "Tier 2 Watch List" ลงมาอยู่ในบัญชีกลุ่ม "Tier 3" ถือเป็นกลุ่มประเทศที่มีสถานการณ์การค้ามนุษย์ในระดับเลวร้ายที่สุด ในส่วนของกระทรวงพาณิชย์ได้เรียกประชุมคณะกรรมการด้านการค้าและแรงงาน วานนี้ (24 มิ.ย.)
ที่มา : website กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ |
| ลดชั้นต่ำสุด ไทยค้ามนุษย์
กดขี่แรงงาน-ค้ากาม กต.สหรัฐทำรายงาน ‘โอบามา’จ่อคว่ำบาตร
สหรัฐฯลดระดับความน่าเชื่อถือในการตอบสนอง การแก้ปัญหาค้ามนุษย์ของไทย ชี้ล้มเหลวหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการปราบปรามการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมง เอาแรงงานต่างด้าวมาบังคับใช้แรงงานและค้าประเวณี จวกยับเจ้าหน้าที่กองทัพเรือพัวพันผลประโยชน์โรฮิงญา ขณะที่สำนักกลางคริสเตียนในไทยถกปัญหาค้ามนุษย์แนะรัฐต้องร่วมมือแก้ปัญหามากๆ
ไทยรัฐออนไลน์ วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2557 |
| ส่งออกผวา GSP มะกันหมดอายุ
ผู้ส่งออกลุ้นไทยได้ต่อจีเอสพีสหรัฐฯ หลังหมดอายุต้องเสียภาษีอัตราปกติตั้งแต่ 1 ส.ค.หวั่นผู้นำเข้าแบกภาระไม่ไหว ถอดใจชะลอูรกิจ ร้องเพลงรอรัฐสภาสหรัฐฯชี้ขาด
ผวามีสมาชิกเสนอตัดจีเอสพีประเทศที่มีการทำเอฟทีเอกับประเทศพัฒนาแล้วซึ่งไทยอยู่ในข่าย จี้รัฐบาลล๊อบบี้โอบามาช่วยเหลือ พร้อมเร่งเข้าเป็นสมาชิกทีพีพีเชดเชยถูกตัดในระยะยาว
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที 33 ฉบับที่ 2,375 วันที่ 1-4 กันยายน พ.ศ.2556 |
| การเจรจา FTA ไทย-สหภาพยุโรปกับความมั่นคงทางอาหาร
เรื่อง "ความมั่นคงทางอาหาร" เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจและห่วงใยทั้งในระดับประชาคมโลกและในประเทศไทย เนื่องจากมีแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงหลายด้านที่จะส่งผลกระทบบั่นทอนความมั่นคงทางอาหารในปัจจุบันและในอนาคต ตัวอย่างเช่น การเพิ่มขึ้นของประชากรโลก ราคาอาหารที่สูงขึ้น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ฯลฯ
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,855 วันที่ 23 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |
| ส่งออกกุ้งสาหัสขาลงรอบ 25 ปี
ส่งออกกุ้งครึ่งหลัง ฝ่าด่าน 6 ปัจจัยเสี่ยง โรค EMS ตัวแปรใหญ่ ชี้หากผลผลิตกุ้ง ไตรมาส 3 ยังไม่ฟื้นจ่อนำเข้าจากอินเดียมาแปรรูปช่วยเพิ่มยอด ลุ้นระทึกสหรัฐฯประกาศสถานะค้ามนุษย์รอบใหม่รอด-ไม่รอดบัญชีดำ ขณะค่าบาทยังไม่น่าไว้ใจ จี้รัฐเตรียมเงินหมื่นล้านช่วยสภาพคล่องทั้งวงจร "พจน์" ชี้อุตสาหกรรมขาลงรอบ 25 ปี
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,855 วันที่ 23 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |
| ทัพธุรกิจไทยตะลุยเวียดนาม
เวียดนามยังไม่สิ้นมนต์ขลัง ทัพธุรกิจไทยแห่ขยายการค้า-ลงทุนต่อเนื่อง ทูตพาณิชย์เผยรายใหญ่-รายย่อยจดทะเบียนแล้วกว่า 200 บริษัทใน 6 กลุ่มสาขาหลัก ขณะที่ส่งออกยังขยายตัวได้ดีตั้งเป้าปีนี้ขยายตัว 5% ชี้กลุ่มสินค้าอุปโภค-บริโภค ไลฟ์สไตล์ เคหะสิ่งทอมีอนาคต
นางมาลินี หาญบุญทรง ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ"
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,850 วันที่ 6 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |
| ส่งออกกุ้งดิ้นสู้ 'ซีวีดี'มะกันห่วงอินเดียบวกอินโดฯแซง
ส่งออกกุ้งดิ้นสู้ซีวีดีสหรัฐฯ อีกเฮือก จ้างทนายยื่นข้อมูลแก้ต่างเพิ่ม หวังลุ้นประกาศผลรอบสุดท้าย 12 สิงหาฯ รอดถูกโขกภาษีทั้งประเทศ เบื้องต้นทุกบริษัทถูกบังคับให้วางบอนด์ค้ำประกันแล้ว ด้านทูตพาณิชย์ชี้น่าห่วงภาษีซีวีดีของไทยอาจขยับมากกว่า 2.09% วงการร่วงโรค EMS ทำผลผลิตกุ้งไทยวูบ อาจเป็นโอกาสกุ้งอินเดียรวมกุ้งอินโดฯผงาดแซงหน้าไทยในตลาดสหรัฐฯเป็นครั้งแรก
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,851 วันที่ 9 - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |
| ส่งออกโวย 4 สายเดินเรือต่างชาติ
ผู้ส่งออก โวย 4 สายเดินเรือต่างชาติทำเนียน ยังเรียกเก็บค่าธรรมเนียมความแออัดท่าเรือ ทั้งที่การท่าฯได้ดำเนินการแก้ไขจนสำเร็จลุล่วงแล้ว เรียกร้องให้ยกเลิกเพราะเพิ่มต้นทุน วงการชี้ผลพวงค้าโลกทรุดช่วง 2-3 ปีผ่านมา บริษัทเรือขาดทุนต้องหารายได้เพิ่ม พร้อมฟันธงค่าระวางเรือเฉลี่ยทั้งปีนี้ใกล้เคียงปีที่แล้ว ไตรมาส 3-4 มีปรับ
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,850 วันที่ 6 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |
| 3 สถาบันมองต่างพณ.หดส่งออก
เอกชน มองต่างมุม ก.พาณิชย์ปรับลดเป้าส่งออกเหลือ 7-7.5% สภาหอฯ ชี้ด่วนถอดใจ ทั้งที่ยังมีเวลาลุยอีก 7 เดือน ขณะสภาอุตฯ-สภาผู้ส่งออกเห็นด้วยที่ยอมรับความจริง สั่งจับตาอาจต้องปรับลดเป้าลงอีกรอบ
พร้อมระบุตัวเลขส่งออกเม.ย.ล่าสุดขยายตัวกว่า 10% แค่ภาพลวงตา เหตุน้ำท่วมใหญ่ฐานตัวเลขเม.ย.55ต่ำ ส่วนการลดดอกเบี้ยอาร์/พี ห่วงคุมบาทแข็งไม่อยู่
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2,849 วันที่ 2 - 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556 |